การตั้งครรภ์ ถือว่า เป็นช่วงหนึ่งที่สำคัญของผู้เป็น แม่ ที่จะต้องอุ้มครรภ์ด้วยความยากลำบากและมีความเหน็ดเหนื่อย ตลอดระยะเวลาทรมาน 40 สัปดาห์ และจะต้องเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนจนกระทั้งเติบใหญ่
ริสกีจากการตั้งครรภ์ ลูกช่วยเม่ห่างจากไฟนรกได้
การตั้งครรภ์ ถือว่า เป็นช่วงหนึ่งที่สำคัญของผู้เป็น แม่ ที่จะต้องอุ้มครรภ์ด้วยความยากลำบากและมีความเหน็ดเหนื่อย ตลอดระยะเวลาทรมาน 40 สัปดาห์ และจะต้องเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนจนกระทั้งเติบใหญ่ โดยมุ่งหวังที่จะให้ลูกเป็นคนดีและมีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺ (ซุบฮานะฮุวะตะอาลา)
แต่ใครจะไปรู้ว่า การตั้งครรภ์ของผู้เป็นแม่นั้นอัลลอฮฺได้ประทานความเมตตาต่อหญิงตั้งครรภ์ด้วยความอดทน และที่พิเศษไปกว่านั้นก็คือจะได้รับริสกีในส่วนของผลบุญไปด้วย
ผลบุญของการตั้งครรภ์ การคลอด เเละ การให้นมบุตร
1. หากผู้ที่ตั้งครรภ์เสียชีวิต การตาย เปรียบเสมือนการตายชาฮีด
2. หากลูกตายก่อนบรรลุนิติภาวะ หรือ ตายในครรภ์ หรือ มีการเเท้ง หรือ คลอดก่อนกำหนด เเต่ทารกเสียชีวิต ลูกสามารถช่วยเหลือเเม่ในวันกียามัตจากไฟนรก
3.ดุอาอฺของผู้ที่ตั้งครรภ์จะถูกตอบรับมากกว่าคนที่ไม่ตั้งครรภ์
4. หยดนมที่หลั่งออกมา 1 หยด เพื่อให้ลูก เท่ากับ 1 ผลความดี หรือ ผลบุญ
5. ขณะคลอด เป็นเวลาที่เหมาะสมที่ผู้เป็นพ่อควรดุอา เพราะ ดุอาอฺจะถูกตอบรับในเวลานั้นมาก
6. เป็นการลบล้างบาป เเละเพิ่มความดีในระดับผู้ที่ตายชาฮีด
7. เป็นการเพิ่มประชากรมุสลิม ซึ่งได้ผลบุญมากมาย
8. ทุกความเจ็บปวดขณะตั้งครรภ์ เเละขณะคลอด มีการบันทึกความดี
หลักฐาน
ข้อที่ 1 จากฮาดิษ
رواه ابن ماجه وأبو داود وغيرهما من حديث جابر بن عتيك أنه قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: الشهداء سبعة سوى القتل في سبيل الله؛ المطعون شهيد، والغريق شهيد، وصاحب ذات الجنب شهيد، والمبطون شهيد، والحرق شهيد، والذي يموت تحت الهدم شهيد، والمرأة تموت بجمع شهيد. قال ابن حجر: التي تموت وفي بطنها ولد. وقال النووي: وإنما كانت هذه الموتات شهادة يتفضل الله تعالى بسبب شدتها وكثرة ألمها
ข้อที่ 2 จากฮาดิษ
عن معاذ بن جبل رضي الله عنه قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: والذي نفسي بيده إن السقط ليجر أمه بسرره إلى الجنة إذا احتسبته
คำกล่าวของท่าน อีหม่าม อันนาวาวีย์ รฮ.
قال النووي رحمهُ الله
"موتُ الواحدِ من الأولادِ حجابٌ منَ النار ، وكذا السقطُ"
ข้อที่ 3
عن أنس رضي الله عنه، أن حاضنة إبراهيم ابن النبي صلى الله عليه وسلم: قالت: يا رسول الله تبشر الرجال بكل خير ولا تبشر النساء.... فقال: أفما ترضى إحداكن أنها إذا كانت حاملاً من زوجها وهو عنها راض أن لها مثل أجر في سبيل الله، فإذا أصابها الطلق لم يعلم أهل السماء وأهل الأرض ما أخفي لها من قرة أعين، فإذا أرضعت لم يخرج منها جرعة من لبنها ولم يمص منها مصة إلا كان لها بكل جرعة وبكل مصة حسنة، فإن أسهرها ليلة، كان لها مثل أجر سبعين رقبة تعتقهن في سبيل الله
ข้อที่ 4 จากอัลกุรอาน
โดยยึดหลักทั่วไป
كما قال تعالى : ( أَمَّن يُجِيبُ الْمُضْطَرَّ إِذَا دَعَاهُ وَيَكْشِفُ السُّوءَ ) النمل/62
ข้อที่ 5 จากฮาดิษ
عن أم المؤمنين عائشة رضي الله عنها قالت: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: ما من مصيبة يصاب بها المسلم إلا كفر بها عنه حتى الشوكة
ข้อที่ 6 จากฮาดิษ
رواه النسائي وأبو داود والإمام أحمد بلفظ: تزوجوا الودود الولود فإني مكاثر بكم الأمم. ومنها: تكاثروا فإني مباه بكم الأمم يوم القيامة. وهو حديث صحيح رواه الشافعي عن ابن عمر
ขอขอบคุณข้อมูลจาก: Matty Ibnufatim Hamady